ฝึกประสบการณ์วันที่ 15 มีนาคม 2560
เข้าพบอาจารย์ วนิดา
ศรีทองคำ งานจัดการสิ่งพิมพ์ได้เปล่า
ได้อธิบายลักษณะงานและสอนการเลือกสิ่งพิมพ์เพื่อนำเข้าห้องสมุด
รายละเอียดดังต่อไปนี้
สิ่งพิมพ์ได้เปล่า
คือ สิ่งพิมพ์ที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย หน่วยงานจัดพิมพ์ขึ้นแล้วนำมาให้ หรือ
จากมหาวิทยาลัยต่างๆ
ลักษณะงาน
คัดเลือกสิ่งพิมพ์แล้วพิจารณาว่าเนื้อหาว่าควรนำเข้าสำนักหอสมุดหรือไม่
หากเช็คแล้วซ้ำพิจารณาจากการใช้สถิติการใช้บริการ
ขั้นตอนการเลือกสิ่งพิมพ์ได้เปล่า
- - พิจารณาจากเนื้อหาในตัวเล่มหนังสือ หลักๆแล้วหากเป็นเกี่ยวกับเกษตรจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
- - ข้อมูลได้ความเชื่อถือหรือไม่ เช่น พิจารณาจากผู้แต่ง เป็นต้น
- - เช็ค พ.ศ. และพิจารณาว่าเก่าเกินไปไหม
- - เลือกให้เหมาะกับปริญญาตรี
การป้อนข้อมูลเบื้องต้น
การให้เลข
tag
ให้คราว 5 tag หลักๆ
เช่น
-
เลข ISBN
-
ชื่อผู้แต่ง
-
ชื่อเรื่อง
-
สำนักพิมพ์
-
ราคา (หากหนังสือไม่มีราคา
ราคาจะตั้งจากจำนวนหน้าในเล่มหนังสือเพื่อเป็นการตรวจเช็คได้ง่ายหากหนังสือหาย)
เวลา
13.00
น.- 16.00 น
เข้าพบอาจารย์
กนก สุขมณี งานดรรชนีวารสาร ได้อธิบายรายละเอียดงานดรรชนีวารสาร การลงรายการ AACR 2 และลักษณะของงาน ได้อธิบายดังนี้
การคัดเลือกวารสาร
-
ต้องเป็นวารสารหรือบทความทางวิชาการและตรงต่อหลักสูตรการเรียนการสอนของ
มก.
-
เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความ บทวิจารณ์ บทความวิจัย
-
เป็นวารสารที่มีการจัดพิมพ์อย่างต่อเนื่อง
ออกต่อตามเวลาไม่ขาดตอน
การคัดเลือกบทความดรรชนีวารสาร
-
เป็นวารสารวิชาการ บทความวิจัย
บทความวิชาการต้องมีอ้างอิงลงท้าย
-
เป็นบทความที่ทันสมัยและให้ความรู้
-
ไม่เป็นบทความแปล
หรือรายงานการประชุมต่างๆ
ขั้นตอนการจัดทำดรรชนีวารสาร
-
ตรวจสอบหรือสำรวจวารสารที่จะทำดรรชนี
-
คัดเลือกบทความ
-
วิเคราะห์เนื้อหาในวารสาร
-
ลงรายการบรรณานุกรมดรรชนีวารสาร
-
กำหนดหัวเรื่องหรือคำสำคัญ
-
ทำการโยง
-
ลงรายการแล้วบันทึกราย
-
ตรวจสอบความถูกต้อง
งานที่ได้รับมอบหมาย เลือกบทความ 2 บทความจากนั้นลงข้อมูลบรรณานุกรมศึกษาตามตัวอย่าง
และกำหนดหัวเรื่องด้วย เว็บหัวเรื่องภาษาไทยออนไลน์ http://thaiccweb.car.chula.ac.th/thaiccweb/main.php
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น